ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
มนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์ต้องบอกวิธีให้คอมพิวเตอร์ได้รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาใช้ในการติดต่อซึงกันและกัน เช่นเดียวกันที่มนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกต์ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง(Machine Languages)
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1นี้เป็นรหัสผ่าแทนคำสั่งในการทำงานคอมพิวเตอร์ข้อมูลคำสั่งตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้
เราเรียนเลขสองหลักฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปอื่นที่เป็นตัวอักษร
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ภาษาเครื่อง(Machine Languages)
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1นี้เป็นรหัสผ่าแทนคำสั่งในการทำงานคอมพิวเตอร์ข้อมูลคำสั่งตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้
เราเรียนเลขสองหลักฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปอื่นที่เป็นตัวอักษร
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอกเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อการติดต่อคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอกเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครืองอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปรภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assemberlr) เพื่อแปลงชุดภาษาแอกเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอกเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อการติดต่อคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอกเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครืองอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปรภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assemberlr) เพื่อแปลงชุดภาษาแอกเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statementh ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่ไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปรภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิดด้วยกันคือ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statementh ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่ไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปรภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิดด้วยกันคือ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
คอมไพเลอร์ จะทำการแปรโปรแกรมที่เขียนเป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง ทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์จะทำการแปรที่ละคำสั่งและคอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเส็จแล้วจึงมาทำการแปรคำสั่งลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พลีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปรที่ละคำสั่ง
อินเทอร์พรีเตอร์จะทำการแปรที่ละคำสั่งและคอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเส็จแล้วจึงมาทำการแปรคำสั่งลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พลีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปรที่ละคำสั่ง
การทำงานของระบบ network และ Internet โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ของลักษณ์ของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่นอยู่ภายนอกอาคาร หรือหน่วยงานเดียวกัน
2.เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network:MAN)
เป็นกลุ่มของเครือข่าย lan ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณใกล้เคียงกัน เช่น เมืองเดียวกัน เป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network:WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และMAL มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ครอบคลุมพื้นที่กว้างไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่นอินเตอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายสาธารณะ ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ของลักษณ์ของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่นอยู่ภายนอกอาคาร หรือหน่วยงานเดียวกัน
2.เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network:MAN)
เป็นกลุ่มของเครือข่าย lan ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณใกล้เคียงกัน เช่น เมืองเดียวกัน เป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network:WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และMAL มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ครอบคลุมพื้นที่กว้างไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่นอินเตอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายสาธารณะ ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology)
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงการไหลเวียนของข้อมูล ในเครือข่ายด้วยโครงสร้างในเครือข่ายหลักมี 4 แบบ คือ
1.เครือข่ายแบบดาว
2.เครือข่ายแบบวงแหวน
3.เครือข่ายแบบบัส
4.เครือข่ายแบบต้นไม้
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงการไหลเวียนของข้อมูล ในเครือข่ายด้วยโครงสร้างในเครือข่ายหลักมี 4 แบบ คือ
1.เครือข่ายแบบดาว
2.เครือข่ายแบบวงแหวน
3.เครือข่ายแบบบัส
4.เครือข่ายแบบต้นไม้
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย
1.เครือข่ายแบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันกับสายสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะทำการได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลาง ของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆ
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือ ฮับ เป็นจุดการติดต่อกันระหว่างทุกโหมดในเครือข่าย สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการสื่อสารทั้งหมด การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาว จะเป็นแบบ2ทิศทางโดยจะอนุญาตเพื่อป้องกันชนการของสันญาณของข้อมูลเครือข่ายแบบดาวเป็นเครือข่ายหนึ่งที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
2.เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกันเครื่องขยายตัวสัญญาณที่ส่งจะรับและส่ง ถ้าใช้ก็รับไว้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้สถานีนั้นๆเครื่องขยายสัญญาณต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ด้วยถ้าใช้ก็รับไว้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
3.เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ โดยมีอุปกรณ์ที่มีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ช่วงเวลาหนึ่ง การจัดส่งข้อมูลด้วยวิธีนี้จะต้องกำหนดพิธีการ สัญญาณที่แตกต่างกันในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัส คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่รับข้อมูลทุกชนิดถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวซึ่งจะใช้ในเครือค่ายเล็ก ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก
อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหมดทุกโหมดในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า
4.เครือข่ายแบบต้นไม้ (Tree Network) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถ ส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสานข้อมูลผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันกันใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและแบ่งปันใช้ข้อมูลระหว่างบุคคลด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้คืองานของระบบ
ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงานได้เป็น3ประเภท
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผลได้ และมีการเชือมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลางวึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer
แต่ระสถานีงานบนระบบเครือข่ายPeer-to Peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง (Stand Alone) คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตัวเอง เช่นดิสก์สำหรับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ และความสามารถในการประมวลผลข้อมูลได้
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
ระบบClient / Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย1เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบศูนย์รวมกลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบClient / Server ราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ
นอกจากนี้เครือข่ายยังต้องมีความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเอง
ระบบเครือข่ายแบบClient / Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง Server สำหรับให้บริการต่างๆเพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ ส่วนของเสียของระบบนี้คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่า ระบบPeer-to Peer รวมทั้งต้องการบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น