1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือการดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่นรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลเป็นหน้าจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการาข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software )
หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux รวมโปรแกรมแปรคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือการดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่นรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลเป็นหน้าจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการาข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software )
หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux รวมโปรแกรมแปรคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1) ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่นรับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกจากจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์ รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่นเมาส์ ลำโพงเป็นต้น
2)ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบันจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้แผ่นบันทึก
3)ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้นเช่น การขอดูรายการในสารบบ (directory) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไปแบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Oparating System:os)
2.ตัวแปลภาษา
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Oparating System:os)
2.ตัวแปลภาษา
1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส (Oparating System:os)เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟตืแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รูจักกันดีเช้น ดอส วินดดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
1) ดอส (Disk Operating System:DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้มีการใช้งานน้อยมาก
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียวระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ระงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผุ้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลื่อกตำแหน่งที่ปรากกบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กลับเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ ไม่ต้องผูกติดกับระบบ ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบเพื่อการตอนสนองการใช้งานใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกัน ระบบภาระกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
4) ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติงานที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน ในระบบต่างๆทำงานแบบลีนุกซ์กันเป็นจำนวนมากโดยอย่างยิ่งโปรแกรมกลุ่มกูส์นิว (GNU) และสิ่งสำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free Ware) ผูใช้สามารถใช้งานได้โดยได้เลยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) fb0b9v] (Digital Alpha Computer) และสันสปาร์ค ถึงแม้ในขณะนี้ลีนุกซืยังไมสามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวซ์ บนซีพีได้ทั้งหมดก็ตามแด่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนรีนุกส์กันมากขึ้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำมาใช้แบบกราฟิก
นอกจากระบบปฏิบัติการยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกเป็น3 ชนิดด้วยกันคือ
1. ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้งานหลายงาน (Multi-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user)
.ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่สามารถใช้พร้อมกันได้หลายคนแต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผูใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลาเช่นระบบปฏิบัติการ Windows NT และUNIX เป็นต้น
2. ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่ง ได้ง่าย เข้าใจได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปร ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ basic.pascal. C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran.Cobol.และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟตืแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รูจักกันดีเช้น ดอส วินดดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
1) ดอส (Disk Operating System:DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้มีการใช้งานน้อยมาก
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียวระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ระงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผุ้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลื่อกตำแหน่งที่ปรากกบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กลับเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ ไม่ต้องผูกติดกับระบบ ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบเพื่อการตอนสนองการใช้งานใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกัน ระบบภาระกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
4) ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติงานที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน ในระบบต่างๆทำงานแบบลีนุกซ์กันเป็นจำนวนมากโดยอย่างยิ่งโปรแกรมกลุ่มกูส์นิว (GNU) และสิ่งสำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free Ware) ผูใช้สามารถใช้งานได้โดยได้เลยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) fb0b9v] (Digital Alpha Computer) และสันสปาร์ค ถึงแม้ในขณะนี้ลีนุกซืยังไมสามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวซ์ บนซีพีได้ทั้งหมดก็ตามแด่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนรีนุกส์กันมากขึ้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำมาใช้แบบกราฟิก
นอกจากระบบปฏิบัติการยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกเป็น3 ชนิดด้วยกันคือ
1. ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้งานหลายงาน (Multi-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user)
.ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่สามารถใช้พร้อมกันได้หลายคนแต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผูใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลาเช่นระบบปฏิบัติการ Windows NT และUNIX เป็นต้น
2. ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่ง ได้ง่าย เข้าใจได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปร ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ basic.pascal. C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran.Cobol.และภาษาอาร์พีจี